สุนทรเจดีย์ศรีเวียงหวาย
สุนทรเจดีย์ศรีเวียงหวาย
วัดสุนทราวาส หมู่ที่ 9 บ้านเวียงหวาย
ต.ม่อนปิ่น อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างพระธาตุเจดีย์
พระสมชาย ปัญญาวโรเจ้าอาวาส และคณะศรัทธาบ้านเวียงหวาย หมู่ที่ 9 ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ขออนุญาตบอกบุญมายังพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน ได้ร่วมกันสร้างกุศลอันยิ่งใหญ่ ด้วยการสร้างพระเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และเป็นศาสนสถาน ที่จะสถิตใว้ในบวรพระพุทธศาสนา
ณ.วัดสุนทราวาส บ้านเวียงหวาย
ต.ม่อนปิ่น อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
ภาพข่าวการดำเนินการก่อสร้างพระธาตุเจดีย์
ขอเชิญพุทธศาสนิชนผู้มีจิตศรัทธา
ร่วมสมทบทุนสร้างพระธาตุ
สุนทรเจดีย์ ศรีเวียงหวาย
โดยสามารถบริจาคได้ที่
วัดสุนทราวาส ทุกวันและทุกเวลา
นายคำ จ่าแปง
เหรัญญิก
โทร:089-954-2875
พระอริยะ อริยวํโส
ติดต่อผ่านเฟสบุ๊ค
https://www.facebook.com/profile.php?id=61553910017970&mibextid=LQQJ4d
โทร:096-656-8917
หรือโอนเข้าที่บัญชี
ธนาคาร กรุงไทย สาขาฝาง
ชื่อบัญชี
กองทุนสร้างพระธาตุ
วัดสุนทราวาส(เวียงหวาย)
ตำบอลม่อนปิ่น
หมายเลขบัญชี 532-0-70345-7
พิธีบวงสรวงและวางศิลาฤกษ์
การก่อสร้างสุนทรเจดีย์ศรีเวียงหวาย
พิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างพระธาตุเจดีย์
เมื่อวันที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พศ.2566 ได้มีการจัดทำพิธีบวงสรวงเพื่อการก่อสร้างพระธาตุ ในช่วงเช้าและ พิธีวางศิลาฤกษ์ ในช่วงบ่าย 2 โมง โดยมีประธานฝ่ายสงฆ์คือ
พระราชกิตติสุนทร (บุญเลิศ ธม.มกาโม)
และประธานฝ่ายฆราวาสคือ
พลเอก ชัยวิน ผูกพันธ์ุ รองประธาน
นาวาโท ปริญญา รักวาทิน(ประธานองค์กฐิน)
รองประธาน
ดร.ณัฐพล ศิริสว่าง
ดร.นาตยา คล้ายเรือง
โดยมี อ.ณัฐกิจ ปริพันธนานนท์ เป็นเจ้าพิธีกรรมในการบวงสรวงและวางศิลาฤกษ์
Laying the foundation stone ceremony
On 9 November 2023, the worship ceremony was held in the morning marking the beginning the construction. At 14.00 pm, the foundation stone ceremony was held having Phra Rachakitti Sunthon, as the representative of the Sanga, and General Chaiwin Phukphan, as the representative of the laymen.
อัญเชิญอัฐิครูบาเจ้าศรีวิชัย
จากวัดบ้านปาง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2567 คณะกรรมการร่วมก่อสร้างพระธาตุสุนทรเจดีย์ศรีเวียงหวาย ได้มีการอัญเชิญอัฐิครูบาเจ้าศรีวิชัยจากวัดบ้านปาง โดยได้รับจากท่านพระครูปลัดวินัย อภินนฺโทและคุณพีระพล คล้ายณรงค์ เพื่อมาบรรจุไว้ในรูปหล่อของครูบาเจ้าฯที่จะประดิษฐานไว้ในโถงพระธาตุเจดีย์ศรีเวียงหวาย เพื่อเป็นที่สักการะของพุทธศาสนิกชนที่ได้เข้ามากราบไหว้พระธาตุเจดีย์ อีกทั้งยังได้ขอบุญบารมีของครูบาเจ้าศรีวิชัย ช่วยดลบันดาลให้การก่อสร้างพระธาตุเจดีย์ในครั้งนี้ ได้ประสบผลสำเร็จลุล่วงตามความมุ่งหมายของคณะศรัทธาบ้านเวียงหวาย ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งก็ได้นำมาจัดเตรียมเอาไว้ยังภายใน วิหารวัดสุนทราวาสเวียงหวาย ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567.
Buddha Relic Pagoda Soontara of Sri Wiang Wai
The origin of Wiang Wai could be dated back for centuries. Legend has it that Kham Oei, a daughter of Phra Chao Fang, founded Wiang Wang and Wiang Nang (nowadays Doi Wiang Nang). But Wiang Wai later became an abandoned city. Then a group of Shan people migrated from Shan State, Myanmar, around hundred years ago and inhabited the city. Some came from Ban Piang, Kok, Ban Pong, Namron, Ban Ton Phueng. Some of these migrated Shan scattered around Fang and formed their own communities like Ban Pa Hin and Ban Mon Phin. Shan people in Wiang Wai still cherish and preserve their ancestors’ custom and culture, which represents the authentic identity of Shan people.
In the past, inhabitants of Wiang Wai built a pagoda in the area that became nowadays Wiang Wai’s market. But the pagoda was hit and destroyed by a lighting. The foundation had been relocated to Wat Doi Phrathat Chaloemphrakiat where it remains up until today.
In 2023, faithful residents of Wiang Wai under the leadership of Thongchai Sangsu, the Headmaster of Moo 9 Ban Wiang Wai and Phra Somchai Punyawaro, the abbot of Soontarawas Temple spearheaded the effort to rebuild the stupa inside Soontarawas Temple. The pagoda is built in palace pattern highlighting combination of Shan and Lanna art forms. Structure of the pagoda has three features.
-
Steeple (3rd layer) – containing Buddha relic and several Buddha images, represents Lord Buddha.
-
Body (2nd layer) – containing Buddha’s teaching scripts in Thai, Lanna, and Shan, represents Lord Buddha’s teachings or Dharma.
-
Base (1st layer) – at the middle of the base hall, there is a pilaster supporting the superstructure. The capital of the pilaster is decorated with lotus, supporting the Buddha relic. The column is named “aura of Dharma”. The octagon enclosure walls surround the “aura of Dharma” pilaster. The topmost of the walls enshrine casts of 4 venerated monks of Northern Thailand – Luang Pho Kasem Khemako, Luang Pu Waen Suchino, Khruba Sriwichai, amd Khruba Bunchum – each cast face in different 4 cardinal directions. The base represents the Sanga.
-
The Undergrounded Palace – this layer locates the local museum exhibiting the origin of Shan people, culture and tradition of the community related to the way of life and devotedness of Buddhists who wholeheartedly adhere to the teachings of Lord Buddha.
เดือนพฤศจิกายน 2566
บวงสรวงและเริ่มดำเนินการก่อสร้าง
เดือน มีนาคม 2567
สร้างฐานรากชั้นที่ 1 และ เทเสา
เดือนพฤษภาคม 2567
ก่อโครงสร้างชั้นที่ 3
เดือนกรกฎาคม 2567
ก่อผนังชั้น1-2